บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2019

การเกิดรังสีเอกซ์

รูปภาพ
การเกิดรังสีเอกซ์ (X-ray) รังสีเอกซ์คือ เราเรียก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ที่มีความยาวคลื่นประมาณ 10 -8 m ~ 10 -12 m * ไม่มีนิยามที่แน่ชัดครับ มีหลายแบบครับ มีทั้ง 10 -7 m ~ 10 -11 m และ 10 -9 m ~ 12 -12 m ปิด ว่า รังสีเอกซ์ ครับ เรินต์เกน * นักฟิสิกส์ชาวเยอรมันในช่วงปี 1845~1923 วิลเฮล์ม เรินต์เกน เรินต์เกนค้นพบรังสีเอกซ์ในปี 1895 และขนานนามไว้ครับ และด้วยความสำเร็จนี้ ทำให้เรินต์เกนได้รับรางวัลโนเบลครั้งที่ 1 ในสาขาฟิสิกส์ครับ ปิด ได้ค้นพบครับ คุณสมบัติของรังสีเอกซ์ รังสีเอกซ์มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ครับ เมื่อกระทบกับวัตถุเรืองแสงจะทำให้เกิดการเรืองแสงขึ้น ทำให้เกิดผลลัพธ์เหมือนกับเวลาฟิล์มโดนแสง ไม่ถูกเบนโดยสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก มีอาณุภาพทะลุทะลวงผ่านที่สูง * ยิ่งเป็นรังสีเอกซ์ที่มีความถี่สูงพลังงานมากเท่าไหร่ ก็ยิ่งมีอาณุภาพทะลุทะลวงสูงเท่านั้นครับ รังสีเอกซ์ท

ปรากฏการณ์คอมป์ตัน

รูปภาพ
ปรากฏการณ์คอมป์ตัน ปรากฏการณ์คอมป์ตันคือ เมื่อยิงรังสีเอกซ์ใส่วัตถุแล้วจะเกิดการกระเจิงครับ แต่ว่าในบรรดารังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมานั้น จะมีรังสีเอกซ์ที่มีความยาวคลื่นมากกว่าความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ที่ตกกระทบรวมอยู่ด้วยครับ เรียกปรากฏการณ์นี้ว่า ปรากฏการณ์คอมป์ตัน ครับ * นักฟิสิกส์ชาวอเมริกัน ปี1892-ปี1962 อาร์เทอร์ คอมป์ตันทำการค้นพบครับ เรียกการกระเจิงที่เกิดจากปรากฏการณ์คอมป์ตันว่า การกระเจิงคอมป์ตัน ครับ ยังมีกรณีที่ ในบรรดารังสีเอกซ์ที่กระเจิงออกมานั้น มีรังสีเอกซ์ที่มีความยาวคลื่นสั้นกว่าความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ที่ตกกระทบรวมอยู่ อีกด้วย กรณีนี้ถูกเรียกว่า ปรากฏการณ์คอมป์ตันย้อนกลับครับ ไม่อยู่ในเนื้อหาฟิสิกส์มัธยมปลายครับ ปิด 。หากว่ารังสีเอกซ์นั้นเป็นเพียงแค่คลื่นแท้ ๆ แล้ว ความยาวคลื่นของรังสีเอกซ์ตกกระทบ กับของรังสีเอกซ์ที่กระเจิงก็ควรจะเท่ากันครับ แต่เราสันนิษฐานว่า เหตุที่ไม่เป็นเช่นนั้นก็เพราะว่ารังสีเอกซ์นั้นมีสมบัติความเป็นอนุภาค และพลังงานของรังสี